วันอังคารที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2554

Course Syllabus (ประมวลการสอน)


วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

ประมวลการสอน (Course  Syllabus)

 ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 2 ปีต่อเนื่อง และ 4  ปี





                     รายวิชา (รหัสและชื่อวิชา)    (ภาษาไทย)       901-101   จริยศาสตร์ 
                                                                       (ภาษาอังกฤษ)  901-101    Ethics
                       คณะ                                บริหารธุรกิจ,บัญชี,ศิลปศาสตร์
                      สาขา                                คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ,การตลาด 
                                                               การบัญชี,การโรงแรมและการท่องเทียว,
                           นิเทศศาสตร์สื่อดิจิตอล .    
           
                      ชื่อผู้สอน                          าจารย์ กิจสดายุทต์   สังข์ทอง
                                                                 อาจารย์ ดร.นิเวศน์    วงศ์สุวรรณ 
                                                             



ลักษณะรายวิชา
1.             รหัสรายวิชา             901-101                  
2.             จำนวนหน่วยกิต     จำนวนหน่วยกิต  3  (3-0)
3.             สภาพรายวิชา          วิชาศึกษาทั่วไป    หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4
4.             ระดับรายวิชา           ภาคการศึกษาที่   1/2554   ชั้นปีที่ 1 และ 2 ปีต่อเนื่อง
5.             วิชาบังคับก่อน         -
6.             เวลาการศึกษา          ตลอด  18   สัปดาห์  รวม 54  คาบ  ทฤษฎี  3  คาบต่อสัปดาห์
7.             ห้องเรียน                 ห้อง   9602  เวลา  09.20 – 11.50 น.
                                              ห้อง  9609  เวลา  13.30 – 16.00 น.
      8.    คำอธิบายรายวิชา      (Course  Description)
                                                ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีทางจริยศาสตร์ที่สำคัญ  แนวความคิดหลักเกณฑ์     
              การนำหลักวิชามาใช้ในการพินิจพิเคราะห์และการแก้ปัญหาทางจริยธรรม ในระดับบุคคล
              ชุมชน กลุ่มชนสังคม และจริยธรรมวิชาชีพต่าง ๆ ที่ถือปฏิบัติ การมีคุณธรรม ธรรมมาภิ-
              บาลและความรับผิดชอบต่อสังคมโดยส่วนรวม ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม
9.วัตถุประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมาของทฤษฎีางจริยศาสตร์
2. เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้มีทักษะความชำนาญแนวความคิด และหลักเกณฑ์ในการพินิจพิเคราะห์
3. เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และแก้ปัญหาต่าง ๆ ทางจริยธรรมได้ในระดับบุคคล  ชุมชน และสังคม
4. เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถแทรกหลักจริยธรรมในหน้าที่และวิชาชีพต่างๆ  ที่ปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
5. เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีคุณธรรมและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมอย่างต่อเนื่องยิ่ง ๆ ขึ้นไปในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม
10.จุดประสงค์เชิงคุณธรรม  (Moral objectives)
                          สามารถนำหลักจริยศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตอย่างซื่อสัตย์สุจริต
                      พอเพียง และการแก้ปัญหาวิชาชีพได้





       แผนการเรียน/แผนการสอน
      1. แผนการสอนสำหรับนักศึกษา


สัปดาห์
หน่วยเรียน/บทเรียน/หัวข้อ
กิจกรรมการเรียนการสอน /
งานที่มอบหมายให้นักศึกษา
       1  
    11 มิ.ย.54

      2 , 3

18 มิ.ย.54



   25 มิ.ย.54






       4 ,5

   2 ก.ค.54





  9 ก.ค.54




  


 





     6,7

16 ก.ค.54






23 ก.ค.54










 
     8




    9 -11
6 ส.ค.54




13 ส.ค.54




20ส.ค.54





 

   12 ,13
27 ส.ค.54




   3 ก.ย.54










 
  14 -16
  10 ก.ย.54



 17 ก.ย.54



 24 ก.ย.54






  17


ปฐมนิเทศ


หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ  จริยศาสตร์
-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยศาสตร์
-ทฤษฎีทางจริยศาสตร์
-จุดมุ่งหมายทางจริยศาสตร์
-ขอบเขตและคุณค่าทางจริยศาสตร์
-ประโยชน์ของการศึกษาจริยศาสตร์
-วิธีการศึกษาจริยศาสตร์
-จริยศาสตร์กับจริยธรรม
- สรุปประเด็นสำคัญ
- คำถามท้ายบท

หน่วยที่  2  แนวความคิดหลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์เหตุผลทางจริยศาสตร์
-หลักเกณฑ์ประกอบความดีทั่วไป
-หลักเกณฑ์จริยธรรมขั้นมูลฐาน
-หลักเกณฑ์จริยธรรมขั้นกลาง
-หลักเกณฑ์จริยธรรมขั้นสูง
-หลักเหตุผลทางจริยศาสตร์กับชีววิทยา
-หลักเหตุผลทางจริยศาสตร์กับจิตวิทยา
-หลักเหตุผลทางจริยศาสตร์กับสังคมวิทยา
-หลักเหตุผลทางจริยศาสตร์กับรัฐศาสตร์
-หลักเหตุผลทางจริยศาสตร์กับอภิปรัชญา
-หลักเหตุผลทางจริยศาสตร์กับศาสนวิทยาหรือเทววิทยา
- คำถามท้ายบท



หน่วยที่  3  การแก้ปัญหาทางจริยธรรมในระดับบุคคล ชุมชน กลุ่มชน และสังคม
-จริยธรรมเพื่อแก้ปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาชีวิต
-จริยธรรมเพื่อแก้ปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาสังคม
-จริยธรรมเพื่อแก้ปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาครอบครัว
-จริยธรรมเพื่อแก้ปัญหาและส่งเสริมการปกครอง
-จริยธรรมเพื่อแก้ปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ
-จริยธรรมตามบทบาทหรือหน้าที่ความรู้สึกทางศีลธรรม
- การแกปัญหาและการตัดสินทางศีลธรรม
- คำถามท้ายบท

           สอบกลางภาค
 Mid-term  Examination 26 – 30 ก.ค.  2554 (อาจเปลี่ยนแปลง)

หน่วยที่  4  การแทรกและนำหลักจริยธรรมไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
-ทฤษฎีว่าด้วยมาตรฐานตามหลักจริยธรรม
-จริยธรรมและมาตรฐานตามความเจริญของสังคม
-จริยธรรมกับบทบาทหน้าที่ของพ่อ-แม่
-จริยธรรมกับบทบาทหน้าที่ของ บุตร-ธิดา
-จริยธรรมกับบทบาทหน้าที่ของ อุบาสก-อุบาสิกา
-จริยธรรมกับบทบาทหน้าที่ของครู-อาจารย์
-จริยธรรมกับบทบาทหน้าที่ของนักศึกษา
-จริยธรรมกับบทบาทหน้าที่ของประชาชน
-จริยธรรมกับบทบาทหน้าที่ของนายจ้าง-ลูกจ้าง
-จริยธรรมกับบทบาทหน้าที่ของการครองคู่ชีวิต
-คำถามท้ายบท


หน่วยที่  5  การมีคุณธรรมต่าง ๆ ตามหลักจริยศาสตร์
- คุณธรรม ความรู้ และนิสัยตามหลักจริยศาสตร์
- คุณธรรมของคนกับคุณค่าของความเป็นคน
- คุณธรรมของคนกับสังคมรอบข้าง
- คุณธรรมของคนกับการเลือกดำเนินชีวิตที่ดี
- คุณธรรมของคนกับการเป็นสมาชิกในสังคม
- คุณธรรมของคนกับวิธีการเลือกทางสงบสุข
- คำถามท้ายบท





 

หน่วยที่ 6  ความรับผิดชอบต่อสังคมในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม
- สิทธิและหน้าที่
- การจำแนกหน้าที่
- หน้าที่ของมนุษย์
-หน้าที่กับคุณธรรม
- ความรับผิดชอบต่อสังคมที่สมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
-ความรับผิดชอบและความขัดแย้งกันของหน้าที่
- คุณธรรมกับความสุข
- คำถามท้ายบท


สอบปลายภาค  (Final  Examination)
      27 ก.ย. – 1ต.ค. 54

   แนะนำการเรียน การสอน กฎระเบียบต่างๆ


อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
     - การบรรยาย
     - การเรียนการสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมโดยให้ ผู้ ได้ศึกษาจากเอกสาร ตำรา วารสาร     
      รวมทั้งแสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่กำหนด
      เช่น
       เราควรแสวงหาอะไรให้กับชีวิต ?
       อะไรเป็นสิ่งดีที่สุดสำหรับมนุษย์
       ประโยชน์ของการศึกษาจริยศาสตร์
-ให้นศ.ช่วยกันสรุปและทบทวนความรู้หน่วยที่1
- ทำแบบฝึกหัดที่  1

อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
     - การบรรยาย
     - การเรียนการสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมโดยให้    
       ผู้เรียนได้ศึกษาจากเอกสาร ตำรา วารสาร     
      รวมทั้งแสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่กำหนด
- ให้นักศึกษาวิเคราะห์เหตุผลทางจริยศาสตร์ที่ว่า ... 
    เอาอะไรมาเป็นเกณฑ์ตัดสินว่า ทำอย่างไรถูก  
     อย่างไรผิด ? ตามหลักเกณฑ์และหลักเหตุผล
      ทางจริยธรรม ทำลงในสมุดของตน
-- ทำแบบฝึกหัดที่  2






อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
     - การบรรยาย
     - การเรียนการสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมโดย ให้ผู้เรียนได้ศึกษาจากเอกสาร ตำรา วารสาร  รวมทั้งแสดงความคิดเห็น
- ให้นักศึกษาวิเคราะห์ปัญหา ว่าในสถานการณ์ที่
     ยุ่งยากอันหนึ่งเราควรทำอย่างไร ?
-   มอบหมายหัวข้อรายงาน  (ตัวอย่างปัญหาทาง  
    จริยธรรมจากหนังสือพิมพ์ประจำวัน บทความ)มานำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ทำแบบฝึกหัดที่  3
- สรุปบทเรียน
- Test 1= 10 คะแนน


  

สอบ  บทที่ 1 – 3





 
อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
     - การบรรยาย
     - การเรียนการสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมโดยให้ ผู้เรียนได้ศึกษาจากเอกสาร ตำรา วารสาร  รวมทั้งแสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่กำหนด เช่น  ใครมีบุญคุณต่อนศ.บ้าง ? การเชื่อฟัง พ่อ แม่ ผู้มีประสบการณ์ จะทำให้ชีวิตดีขึ้นหรือแย่ลง ?
- อภิปรายแสดงความคิดเห็นและการตอบคำถาม
   นักศึกษา
- นักศึกษานำหลักจริยธรรมข้อใดไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตบ้าง ?
- ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น
- ทำแบบฝึกหัดที่  4




อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
     - การบรรยาย
     - การเรียนการสอนที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมโดยให้ ผู้เรียนได้ศึกษาจากเอกสาร ตำรา วารสารรวมทั้งแสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่กำหนด  เช่น   การมีคุณธรรมจะทำคนให้ เป็นคนดีหรือชั่วได้หรือไม่ ?
- ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น
- ให้นักศึกษาค้นคว้า คุณธรรมสำหรับคนดีควรปฏิบัติตนอย่างไรตามหลักจริยศาสตร์
-สรุปประเด็นสำคัญ
- ทำแบบฝึกหัดที่  5



 
อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
 - การบรรยาย
- ให้ตัวแทนนักศึกษา Present  หน้าห้อง ว่า
    สามารถรับผิดชอบ ตนเองได้ไม่
   และสามารถอยู่บนโลกใบนี้คนเดียวได้หรือไม่ ?
- แสดงความคิดเห็น
- ให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
-ระดมสมองสรุปประเด็นสำคัญ
- ทำแบบฝึกหัดที่  6
- สรุปบทเรียน



      สอบบทที่ 4 – 6


เงื่อนไขรายวิชา (ถ้ามี) เช่น การแต่งกาย เวลาในการขาดเรียน
    1. นักศึกษาจะต้องมีความตรงต่อเวลา และห้ามเข้าชั้นเรียนสายเกิน  15 นาที เว้นแต่มีเหตุสุดวิสัย
    (จะต้องมีร่องรอยหลักฐานมาแสดง) หากเข้าชั้นเรียนสายเกิน 15  นาที่ ถือว่าขาดเรียนในคาบนั้นๆ
   2. ถ้านักศึกษา ขาดเรียนเกินกำหนด (3 ครั้ง) โดยไม่มีเหตุจำเป็น และไม่มีใบรับรองแพทย์หรือ 
       ผู้ปกครอง ให้เป็นไปตามเงื่อนไขการประเมินผล
การประเมินผลรายวิชา
   1.   การประเมินรายวิชา คะแนนภาควิชาการ  ร้อยละ                        100                                                                                        -   การทดสอบย่อย                             10
                                  -   ผลงานมอบหมาย                           10
                                  -   การสอบกลางภาค                          30
                                  -    การสอบปลายภาค                           30
                                      -   รายงาน                                            10
                                    -   จิตพิสัย  ร้อยละ                               10
 2.  เกณฑ์ค่าระดับคะแนน  กำหนดค่าระดับคะแนนร้อยละตามเกณฑ์  ดังนี้
                                             คะแนนร้อยละ   80  ขึ้นไป   ได้   เกรด         A
                           คะแนนร้อยละ  75 – 79     ได้   เกรด          B+
                           คะแนนร้อยละ  70 – 74      ได้   เกรด          B
                                             คะแนนร้อยละ   65 – 69       ได้   เกรด        C+
                                             คะแนนร้อยละ   60 – 64       ได้   เกรด        C
                           คะแนนร้อยละ   55 – 59    ได้   เกรด         D+
                                             คะแนนร้อยละ   50 – 54    ได้  เกรด           D
                                              คะแนนร้อยละ     0 - 49    ได้  เกรด            F

รายชื่อหนังสือประกอบการเรียนการสอน
                1.  พระธรรมปิฎก  ธรรมนูญชีวิต  กรุงเทพมหานคร  โรงพิมพ์สหธรรมมิก จำกัด  2547
                2.  พระธรรมกิตติวงศ์  ธรรมสารทีปนี    โรงพิมพ์เลี่ยงเซียง  2544
                3.  บุญมี  แท่นแก้ว  ผศ. จริยศาสตร์  กรุงเทพมหานคร  สำนักพิมพ์โอเดี้ยนสโตว์  2539
                4.  วศิน  อินทสระ  จริยศาสตร์  กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์มหามกุฏราษวิทยาลัย 2544
             5.  เจือจันทน์  อัชพรรณ  โอวาทสี่ของท่านเหลียวฝาน  กรุงเทพมหานคร  สำนักพิมพ์สวย
                  จำกัด  2542 
             6.  วิทย์  วิศทเวทย์  จริยศาสตร์เบื้องต้น   กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์โอ
เดี้ยนสโตว์  2539

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น