วันอาทิตย์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

โทษบุหรี่...นำโรคเข้าสู่ตัวเรา


       อันบุหรี่        ขี้ยา             ถ้าเกี่ยวข้อง
มันจะต้อง          เสียหาย        หลายสถาน
หนึ่งทรัพย์สิน     สิ้นไป          ไม่ได้การ
สองเสียงาน       เสียเวลา       เพราะบ้าควัน
สามสกปรก        รกที่               ก้นขี้ยา
สี่โรคา               เข้าสู่กาย       ทำลายขันธ์
ห้าหมู่ชน            คนดี              พูดจากัน
เขาเกียจ             ควันบุหรี่        นี้อย่างแรง

วันศุกร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

การแก้ปัญหาและการตัดสินทางศีลธรรม

 ๓.๗ การแก้ปัญหาและการตัดสินทางศีลธรรม ม (Social) หมายถึง ความรู้สึกทางศีลธรรมที่มีผลนึก
         การตัดสินทางศีลธรรมนั้น ได้มุ่งไปในทางคุณค่า ไม่ใช้   ข้อเท็จจริงซึ่งเป็นกระบวนการตัดสินทางวิทยาศาสตร์
- การตัดสินข้อเท้จจริง คือตัดสินว่าอะไรเป็นอะไร (what is)
- การตัดสินคุณค่านั้นมุ่งไปที่ว่า ควรเป้นอย่างไร (what ought to be) เช่น เมื่อบุคคลกระหาย ต้องแสวงหาอาหารมาบำบัดความกระหาย ควรทำอย่างให้เหมาะสมที่สุด  คือ (Value)
-
 ที่ตั้งแห่งการตัดสินทางศีลธรรม 
เป็นการกระทำดดยเจตนาแบ่งออกเป็น    ขั้น  คือ
๑.ขั้นในใจ (Mental stage) ก่อให้เกิดการกระทำแรงจูงใจ ความสนใจ ความทะยานอยาก  ความจงใจ เป็นต้น
๒.ขั้นแห่งการกระทำทางกาย (Body stage) การเคลื่อนไหวทางร่างกายทั้งหมด เช่น ยืน เดิน นั่ง  เป็นต้น
๓.ขั้นที่แสดงผลออกภายนอก(Extermination stage of consequences)  ความตั้งใจ อุปนิสัย
 ธรรมชาติของนอร์มที่สูงสุด มี ๓ ประการ คือ ความดี ความจริง และความงาม

จริยธรรมเพื่อแก้ปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ


จริยธรรมเพื่อแก้ปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ  
ปัจจัยขั้นพื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจมี ๔ ประการ/๔ M คือ
๑.คนหรือประชากร(Man)
๒.ทุน(Money)
๓.ทรัพยากรธรรมชาติ(Material)
๔.ความรู้ความชำนาญในการผลิต(Managements)
    

จริยธรรมเพื่อการแก้ปัญหาและส่งเสริมการปกครอง


จริยธรรมเพื่อการแก้ปัญหาและส่งเสริมการปกครอง
        ต้องมีธรรมมาธิปไตย์ในการปกครอง เช่น ทศพิธราชธรรม 10  ประการ ได้แก่  1. ทาน  การแบ่งปันช่วยเหลือ 2. ศีล   การสำรวมไม่เบียดเบียนกัน 3. ปริจาคะ  ให้มีการเสียสละบริจาค4. อาชวะ  มีความประพฤติซื่อตรงทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
5. มัททวะ มีความอ่อนโยนสุภาพเรียบร้อย
6. ตบะ  มีความเพียรละจากบาปอกุศลทั้งปวง
7. อักโกธะ  ความไม่โกรธ ไม่ตกอยู่ในอำนาจแห่งโทสะ
8. อวิหิงสา  ความไม่เบียดเบียน ไม่ถือโทษโกรธเคืองใคร  
9. ขันติ  มีความอดทนต่อความลำบากใหน้าที่การงาน
   10. อวิโรธนะ ความไม่ทำผิด ไม่ดื้อดึงรู้ว่าอะไรควรไม่ควร

จริยธรรมเพื่อการแก้ปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาครอบครัว


จริยธรรมเพื่อการแก้ปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาครอบครัว
                กุลจิรัฐฐิติธรรมมี   4   ประการ
         คือคุณธรรมสำหรับการดำรงชีวิตเพื่อความมั่นคงของตระกูลและครอบครัวให้ยืนยาวนานมี   4  ประการ
         1. นัฏฐคเวสนา    ของหายให้หา         2. ชิณณปฏิสังขรณา  ของเสียให้ซ่อม         3. ปริมิตปาณโภชนา  รู้จักประมาณในการกินการใช้         4. อธิปัจจสีลวันตสถาปนา  ตั้งผู้ดีมีศีลธรรมไว้สืบสกุล
 
ฆราวาสธรรม 4
       คือธรรมสำหรับฆราวาสหรือผู้ครองเรือนควรปฏิบัติได้แก่        1. สัจจะ ให้มีความสัตย์ความจริงในการดำเนินชีวิต
       2. ทมะ  ให้รู้จักข่มใจ ฝึกใจให้หนักเน้นต่อทุกสภาวะ
       3. ขันติ  ให้มีความอดทนต่อหนาวร้อนหิวกระหาย  ความเจ็บปวดต่าง ๆ ที่ต้องเผชิญ
      4. จาคะ  ให้มีความเสียสละไม่เห็นแก่ตัว

จริยธรรมเพื่อแก้ปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาสังคม


จริยธรรมเพื่อแก้ปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาสังคมทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ ในหมู่มนุษย์ผู้ที่ฝึกตนดีแล้วเป็นผู้ประเสริฐที่สุด     1. ปุพพการี คือ ผู้ทำอุปการะก่อน เช่น พ่อ-แม่ ครู-อาจารย์     2. กตัญญูกตเวที คือผู้รู้อุปการคุณและตอบแทนบุญคุณท่านเหล่านั้นลูกคนไหนทำให้พ่อแม่แจ่มใสสุขใจ   มีสวรรค์เป็นที่ไปในเบื้องหน้าลูกคนไหนทำให้พ่อแม่เศร้าใจน้ำตาตก   มีนรกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า

สัปปุริสธรรม 7 ประการ


สัปปุริสธรรม 7 ประการ
สัปปุริสธรรม คือ ธรรมสำหรับคนดีอย่างสมบูรณ์แบบ 7 ประการคือ1.   ธัมมัญญุตา   รู้จักเหตุ คือ ที่มาต้นตอหลักฐานที่จะส่งผลให้ชีวิตสุขหรือทุกข์ รู้สาเหตุและที่มาของสาเหตุ2.   อัตถัญญุตา รู้จักผล คือรู้จักเป้าหมาย รู้ความมุ่งหมายและผลลัพธ์ของการกระทำที่จะเกิดตามมา3.   อัตตัญญุตา รู้จักตนว่ามีกำลังความรู้ ความสามารถ อยู่ในระดับใดและปฏิบัติตนให้พอเหมาะกับภาวะของตนเอง   รู้จักปรับปรุงตนเองให้ดีที่สุดกับกาลเทศะ4.   มัตตัญญุตา รู้จักประมาณ คือความพอเหมาะพอดีไม่มากไม่น้อยจนเกินไป รู้จักประมาณในกิจการที่ทำ

ประโยชน์ของการมีสติสัมปชัญญะ (พหุการธรรม)


ประโยชน์ของการมีสติสัมปชัญญะ (พหุการธรรม)

 
ธรรมคุ้มครองโลก 2 อย่าง (โลกปาลธรรม)
1. หิริ  คือ ความละอายใจต่อบาปอกุศลทุกชนิดโดยมี ปัญญา       กำกับ2. โอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัวต่อผลบาปทุกชนิดใครรักษาได้ดี      เรียกว่า มีเทวธรรม          ธรรมอันทำให้งามมี 2 อย่าง
1. ขันติ คือ ความอดทนเพื่อเสริมบุคลิกภาพให้ดูดี มีความหนัก    แน่น ภูมิฐาน2. โสรัจจะ คือ ความสงบเสงี่ยม รู้จักทำจิตให้แช่มชื่นในเมื่อต้อง    อดทน
1. สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
2. สามารถแก้ปัญหาทั้งระยะสั้นและระยะยาวได้ดี
3. รู้ประโยชน์ในขณะทำ
4. รู้ความเหมาะสม
5. รู้ผลว่าสุขหรือทุกข์
6. รู้ว่าฉลาดหรืองมง่าย

หน่วยที่ 3การแก้ปัญหาทางจริยธรรมในระดับบุคคลชุมชนกลุ่มชนและสังคม


หน่วยที่ 3การแก้ปัญหาทางจริยธรรมในระดับบุคคลชุมชนกลุ่มชนและสังคม     (The Ethics resolving for person people group and Social)
        จริยธรรมเพื่อแก้ปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาชีวิตธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารี  ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม      ธรรม  ย่อมอำนวยผลในทางที่ดี      อธรรม  ย่อมอำนวยผลในทางที่ชั่ว              ธรรมมีอุปการะมากมี 2 อย่าง1. สติ คือ ความละลึกได้ ก่อนทำ-พูด- คิด(หน้าที่สติเพื่ออดีต&อนาคต)2. สัมปชัญญะ คือความรู้สึกตัวในขณะที่ทำ-พูด-คิด(หน้าที่เพื่อปัจจุบัน)

เหตุผลทางจริยศาสตร์กับศาสนาหรือเทววิทยา


เหตุผลทางจริยศาสตร์กับศาสนาหรือเทววิทยา     หลักคำสอนทางศาสนาหรือศาสนวิทยาถือว่าเป็นปรัชญาเพราะเป็นบ่อเกิดแห่งศีลธรรม ทั้งศาสนาประเภทเทวนิยม คือ อิสลาม พราหมณ์-ฮินดู คริสต์ ที่เชื่อว่าพระเจ้าสร้างโลกต้องสวดอ้อนวอนพระเจ้าตามธรรมเนียมของแต่ละศาสนา     ส่วนศาสนาประเภทอเทวนิยม คือศาสนาพุทธ ซิกข์ เชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม คือ การกระทำ ดี ชั่ว อยู่ที่การกระทำ

เหตุผลทางจริยศาสตร์กับอภิปรัชญา


เหตุผลทางจริยศาสตร์กับอภิปรัชญา

           อภิปรัชญาเน้นการศึกษาเจตจำนงอิสระ เป็นการพยายามศึกษาให้ความรู้ความจริงอันสูงสุด อันเป็นความจริงที่มีอยู่ในตัวของมันเอง เช่น ศึกษาในเรื่องของธรรมชาติต่าง ๆ การเกิดขึ้น- ตั้งอยู่และสลายไป เป็นต้น             จริยศาสตร์ เน้นการศึกษาในเรื่องศีลธรรม จริยธรรม คุณค่าสูงสุด ในตัวมันเอง และทำให้คนอื่นเห็นจริงตามด้วย

เหตุผลทางจริยศาสตร์กับรัฐศาสตร์


เหตุผลทางจริยศาสตร์กับรัฐศาสตร์

    จริยศาสตร์  ว่าด้วยความดีความถูกต้องและคุณค่าอันสูงสุดของปัจเจกชน อันเป็นความดีที่มีคุณค่าในตัวมันเอง    รัฐศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยการปกครองโดยอธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของการปกครองด้วยกฎหมายต่าง ๆ เพื่อมุ่งจัดระเบียบความประพฤติของปัจเจกชนให้กลมกลืน  กับสิ่งแวดล         ความเกี่ยวข้องของศาสนาทั้ง 2 มี 3 ด้าน คือ
1. ด้านจิตใจ
 - จริยศาสตร์  ว่าด้วยจิตใจปัจเจกชนที่มีคุณค่าทางศีลธรรม - รัฐศาสตร์  ว่าด้วยจิตใจต่อสังคมว่า เขาทำผิดหรือเปล่าชอบฯลฯ

เหตุผลทางจริยศาสตร์กับสังคมวิทยา


เหตุผลทางจริยศาสตร์กับสังคมวิทยา

    จริยศาสตร์ ว่าด้วยหลักศีลธรรม  ของหน่วยปัจเจกชนเป็นเรื่องของความประพฤติเฉพาะบุคคล จึงต้องแสวงหาคุณลักษณะหรือธรรมชาติของความดีอันสูงสุด
      สังคมวิทยา เป็นพหุชนที่ว่าด้วยโครงสร้าง ด้วยการพิจารณาถึงนิสัยพฤติกรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีอันเป็นบ่อเกิดและพัฒนาด้านต่าง ๆ      ข้อแตกต่าง คือ จริยศาสตร์ จะมุ่งพิจารณาคุณค่าทางศีลธรรมและประมวลผลลงมาว่าดีหรือชั่ว ส่วนสังคมวิทยา  จะมุ่งพิจารณาลักษณะการทางสังคมในฐานะเป็นข้อมูลเท็จจริงตามธรรมชาติ

เหตุผลทางจริยศาสตร์กับจิตวิทยา


เหตุผลทางจริยศาสตร์กับจิตวิทยา
          จริยศาสตร์ เป็นสาสตร์ที่มุ่งแสวงหาความดีอันสูงสุดหรือจุดดีสูงสุดแห่งชีวิตมนุษย์ สอนให้มนุษย์ตั้งเจตจำนงในทางที่ชอบและต้องมีพื้นฐานแห่งศีลธรรม        จิตวิทยา เป็นการเรียนรู้พฤติกรรมและธรรมชาติแห่งจิตใจของมนุษย์ ความต้องการ ความคิด ความเพลิดเพลิน มีข้อแตกต่างจากจริยศาสตร์คือ จิตวิทยามีขอบเขตที่กว้างกว่า เป็นกระบวนการฝ่ายรับหรือฝ่ายจิตทั้งหมด ส่วนจริศาสตร์ว่าด้วยจิตจำนงอย่างเดียวจึงมีขอบเขตที่แคบกว่า

เหตุผลทางจริยศาสตร์กับชีววิทยา


เหตุผลทางจริยศาสตร์กับชีววิทยา    จริยศาสตร์ คือ หลักพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตว่าอะไรถูกผิด ควรไม่ควร   ชีววิทยา คือ หลักความรู้ในการดำเนินชีวิตให้มีความสุขสมบูรณ์พอเหมาะพอควร    เหมือนกายกับจิตต้องอาศัยกัน ( ภูต กับ ผี )ดังคำกล่าวที่ว่า จิตใจที่แจ่มใสย่อมอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์

หลักจริยศาสตร์ขั้นสูง


หลักจริยศาสตร์ขั้นสูง
คือ อริยสัจ หรือ ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ ได้แก่1. ทุกข์  คือ ความไม่สบาย-ใจ (เป็นผลมาจากมีสมุทัย) 2. สมุทัย คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์คือตัณหา(เป็นเหตุแห่งทุกข์)3. นิโรธ  คือ ความดับทุกข์ทั้งปวง(เป็นผลมาจากมรรค คือ ข้อปฏิบัติ)4. มรรค  คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ (เป็นเหตุแห่งนิโรธ)

หลักจริยศาสตร์ขั้นกลาง


หลักจริยศาสตร์ขั้นกลาง  คือ ทางแห่งการสร้างกรรมดี หรือกุศลกรรมบถ 10 คือ กายกรรม3 วจีกรรม4    มโนกรรม 3กายกรรม 3 หรือกายสุจริต คือ
1. เว้นจากการฆ่าสัตว์ประหัตประหารเบียดเบียน2. เว้นจากการลักทรัพย์3. เว้นจากการประพฤติผิดประเวณี
วจีกรรม4หรือวจีสุจริตคือ                                              มโนกรรม3หรือมโนสุจริตคือ 4. เว้นจากการพูดเท็จ                                                 8. ไม่โลภอยากได้ของผู้อื่น(อิจฉา)
5. เว้นจากการพูดส่อเสียด                                          9. ไม่พยาบาทปองร้ายผู้อื่น
6. เว้นจากการพูดคำหยาบ                                          10. เห็นชอบตามทำนองครองธรรม
7. เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ

หน่วยที่ ๒ แนวความคิดหลักเกณฑ์ในการ


หน่วยที่  ๒ แนวความคิดหลักเกณฑ์ในการ   วิเคราะห์เหตุผลทางจริยศาสตร์
        (Ethics  Concept  and  Principle  of Analysis)
หลักเกณฑ์ประกอบความดีทั่วไป       คนดี  คือ คนที่มีความบริสุทธิ์ทางกาย วาจา ใจ เป็นสุจริตชน มีสัมมาทิฏฐิ ระอายชั่วกลัวบาป และต้องมีหลักของคนดี คือ
1. หลักแหล่ง ได้แก่  ที่อยู่อาศัยอันเหมาะสม2. หลักฐาน   ได้แก่  หน้าที่การงานด้านสัมมาชีพ3. หลักธรรม    ได้แก่  ประพฤติตามหลักธรรมเพื่อการดำเนินชีวิต

 
หลักเกณฑ์จริยศาสตร์ขั้นมูลฐาน
       หลักจริยพื้นฐานของมนุษย์  เรียกว่ามนุษยธรรม หรือ เบญจศีล เบญจธรรม คู่กันไป คือ
  เบญจศีล 5                       เบญจธรรม  5 1. ปาณาติปาตา เวรมณี    1. ต้องมีเมตตา
2. อทินนาทา นา               2. ต้องมีสัมมาอาชีพ 3. กาเมสุ                           3. ต้องมีกามสังวร 4. มุสาวาท                       4. ต้องมีสัจจะวาจา 5. สุราเมระยะ ฯลฯ          5. ต้องมีสติสัมปะชัญญะ
คนมีศีลมีธรรม  คือ คนปกติ คนสมบูรณ์ทั้งกายและใจ