วันพฤหัสบดีที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

อารยชน กับ อนารยชน จึงแตกต่างกันเพราะ...

อารยชน กับ อนารยชน แตกต่างกันอย่างไร?
1. อารยชน คือ คนที่มีความเป็นอยู่อย่างมีระเบียบ
2. อนารยชน คือ คนประเภทตามใจตนเองตน     


                 

วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

ตัวอย่างปกรายงาน(2)


ตัวอย่างปกรายงาน
                                                                               

                                                                                        โลโก้วิทยาลัย  
 
                                      เรื่อง วิธีการเขียนรายงาน  
        
                                                         จัดทำโดย

   1.ชื่อ  นายเด็กดี     นามสกุล   ขยันเรียนจริง  รหัสนักศึกษา 61000009
   2.ชื่อ......................นามสกุล............................รหัสนักศึกษา...................
  3.ชื่อ.......................นามสกุล............................รหัสนักศึกษา...................

เสนอ
                                       อาจารย์ ..................................................


วิทยาลัย ...........................................
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา........................รหัสวิชา..................
    คณะ............................................สาขา.......................................................
    ภาคเรียนที่ ..................................ปีการศึกษา............................................



วันอังคารที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

สอนภาษาไทยขั้นพื้นฐาน-ฟัง-พูด-อ่าน-เขียน แก่ชาวต่างชาติฟรี

สอนภาษาไทยพื้นฐาน ฟัง พูด อ่าน เขียน แก่ชาวต่างชาติ


1. เปิดสอนภาษาไทยพื้นฐาน ฟัง-พูด-อ่าน และเขียน  (สอนฟรีสำหรับชาวต่างชาติ)
2. เปิดสอนภาษาไทยขั้นกลางฟัง-พูด-อ่าน และเขียน    สำหรับชาวต่างชาติ (ราคาและวันเวลาตามที่ตกลงครับ)
3.  เปิดสอนภาษาไทยขั้นสูง   ฟัง-พูด-อ่าน และเขียน    สำหรับชาวต่างชาติ
(ราคาและวันเวลาตามที่ตกลงครับ)

วันพฤหัสบดีที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

เปิดสอนภาษาไทยพื้นฐาน ฟัง พูด อ่าน เขียน แก่ชาวต่างชาติ


1. เปิดสอนภาษาไทยพื้นฐาน ฟัง-พูด-อ่าน และเขียน  เป็นการสอนฟรี
     สำหรับชาวต่างชาติ
2. เปิดสอนภาษาไทยขั้นกลางฟัง-พูด-อ่าน และเขียน    สำหรับชาวต่างชาติ
3.  เปิดสอนภาษาไทยขั้นสูง   ฟัง-พูด-อ่าน และเขียน    สำหรับชาวต่างชาติ

พยัญชนะ 

พยัญชนะไทยมี 44 รูป แต่ละตัวมีชื่อเรียกโดยเฉพาะ สามารถแบ่งตามฐานที่ใช้ในการออกเสียงเป็นวรรค เสียงอ่านที่กำกับไว้คือเสียงเมื่อเป็นพยัญชนะต้น
วรรคฐานกรณ์กักสิถิลกักธนิตหรือเสียดแทรกนาสิก
วรรค กะเพดานอ่อน ไก่
[k]
 ไข่
[kʰ]
 ขวด¹
[kʰ]
 ควาย
[kʰ]
 คน¹
[kʰ]
 ระฆัง
[kʰ]
 งู
[ŋ]
วรรค จะเพดานแข็ง จาน
[t͡ɕ]
 ฉิ่ง
[t͡ɕʰ]
 ช้าง
[t͡ɕʰ]
 โซ่
[s]
 เฌอ
[t͡ɕʰ]
 หญิง
[j]
วรรค ฏะปุ่มเหงือก ชฎา
[d]
 ปฏัก
[t]
 ฐาน
[tʰ]
 มณโฑ
[tʰ]/[d]
 ผู้เฒ่า
[tʰ]
 เณร
[n]
วรรค ตะ เด็ก
[d]
 เต่า
[t]
 ถุง
[tʰ]
 ทหาร
[tʰ]
 ธง
[tʰ]
 หนู
[n]
วรรค ปะริมฝีปาก ใบไม้
[b]
 ปลา
[p]
 ผึ้ง
[pʰ]
 ฝา
[f]
 พาน
[pʰ]
 ฟัน
[f]
 สำเภา
[pʰ]
 ม้า
[m]
ไตรยางศ์กลางสูงต่ำ
วรรคเปิดหรือรัวเสียดแทรกเปิดข้างลิ้น
ปุ่มเหงือก
กัก
เส้นเสียง
เสียดแทรก
เส้นเสียง
เศษวรรค ยักษ์
[j]
 เรือ
[r]
 ลิง
[l]
 แหวน
[w]
 ศาลา
[s]
 ฤๅษี
[s]
 เสือ
[s]
 หีบ
[h]
 จุฬา
[l]
 อ่าง²
[ʔ]
 นกฮูก
[h]
ไตรยางศ์ต่ำสูงต่ำกลางต่ำ
  1. ฃ และ ฅ เป็นอักษรที่ในปัจจุบันเลิกใช้แล้ว
  2. อ ถือว่าเป็นเสียงว่างให้รูปสระมาเกาะได้
พยัญชนะไทยยังแบ่งออกเป็น 3 หมู่ เรียกว่า ไตรยางศ์ ประกอบด้วย

สระ[แก้]

สระในภาษาไทยมี 21 รูป ซึ่งรูปสระเหล่านี้จะนำไปประกอบเป็นรูปสระที่ใช้จริงอีกต่อหนึ่ง (ดูที่ ภาษาไทย)

วรรณยุกต์

วรรณยุกต์ในภาษาไทยมี 4 รูป 5 เสียง
เสียงวรรณยุกต์ไทยตามหลักภาษาศาสตร์ แบ่งได้ดังนี้
  • เสียงสามัญ (ระดับเสียงกึ่งสูง-กลาง)
  • เสียงเอก (ระดับเสียงกึ่งต่ำ-ต่ำ)
  • เสียงโท (ระดับเสียงสูง-ต่ำ)
  • เสียงตรี (ระดับเสียงกึ่งสูง-สูง)
  • เสียงจัตวา (ระดับเสียงกึ่งต่ำ-ต่ำ-กึ่งสูง)

รูปวรรณยุกต์

เครื่องหมายวรรณยุกต์ในภาษาไทย มี 4 รูป ดังนี้
ไม้เอก (-่) ไม้โท (-้) ไม้ตรี (-๊) และ ไม้จัตวา (-๋)
อย่างไรก็ตาม ในจารึกสมัยโบราณ เช่น ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง มีเครื่องหมายวรรณยุกต์เพียง 2 รูป คือ ไม้เอก (-่) และไม้โท (-๋)[ต้องการอ้างอิง] เช่น น๋อง (น้อง), ห๋า (ห้า)

การผันเสียงวรรณยุกต์

โดยทั่วไปเสียงพยางค์หนึ่งในภาษาไทย สามารถผันได้ ๕ เสียงวรรณยุกต์ แต่ในภาษาเขียน จะมีกฎเกณฑ์การผันที่ตายตัว ดังนี้
หมู่อักษร-คำเป็นคำตายเสียงสามัญเสียงเอกเสียงโทเสียงตรีเสียงจัตวา
อักษรกลาง คำเป็นกาก่าก้าก๊าก๋า
อักษรกลาง คำตาย สระสั้น-กะก้ะก๊ะก๋ะ
อักษรกลาง คำตาย สระยาว-กาบก้าบก๊าบก๋าบ
อักษรสูง คำเป็น-ข่าข้า-ขา
อักษรสูง คำตาย สระสั้น-ขะข้ะ--
อักษรสูง คำตาย สระยาว-ขาบข้าบ--
อักษรต่ำ คำเป็นคา-ค่าค้า-
อักษรต่ำ คำตาย สระสั้น--ค่ะคะค๋ะ
อักษรต่ำ คำตาย สระยาว--คาบค้าบค๋าบ
คำตายของอักษรกลางและอักษรสูง ไม่ว่าสระจะเป็นเสียงสั้นหรือเสียงยาวก็ผันวรรณยุกต์ตามรูปแบบเดียวกัน เว้นแต่คำตายของอักษรต่ำ เมื่อเป็นสระเสียงสั้นหรือเสียงยาวจะผันคนละแบบ
อักษรต่ำและอักษรสูงไม่สามารถผันให้ครบ ๕ เสียงได้ จึงมักจะใช้อักษรเสียงเดียวกันจากอีกหมู่หนึ่งมาใช้เป็นอักษรนำ โดยมีอักษรสูงนำ (ยกเว้นอักษร อ ซึ่งเป็นอักษรกลาง สามารถนำ อักษร ย ได้) เช่น นา หน่า น่า น้า หนา, มี หมี่ มี่ มี้ หมี

ตัวเลข

ดูบทความหลักที่: เลขไทย
ตัวเลขที่เป็นอักษรไทย เรียกว่าเลขไทย มีลักษณะดังนี้
๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙
วิธีการบอกจำนวนใช้ระบบประจำหลักเหมือนกับตระกูลเลขฮินดู-อารบิกอื่น ๆ

เครื่องหมายวรรคตอน

รหัสยูนิโคดสำหรับอักษรไทย

ช่วงรหัสยูนิโคด (Unicode) ของอักษรไทย คือ U+0E00 ถึง U+0E7F
ไทย
Unicode.org chart (PDF)
 0123456789ABCDEF
U+0E0x 
U+0E1x
U+0E2x
U+0E3x    ฿
U+0E4x
U+0E5x    
U+0E6x                
U+0E7x               

พยัญชนะต้น

ภาษาไทยแบ่งแยกรูปแบบเสียงพยัญชนะก้องและพ่นลม ในส่วนของเสียงกักและเสียงผสมเสียงแทรก เป็นสามประเภทดังนี้
  • เสียงไม่ก้อง ไม่พ่นลม
  • เสียงไม่ก้อง พ่นลม
  • เสียงก้อง ไม่พ่นลม
หากเทียบกับภาษาอังกฤษ โดยทั่วไปมีเสียงแบบที่สองกับสามเท่านั้น เสียงแบบที่หนึ่งพบได้เฉพาะเมื่ออยู่หลัง เอส (S) ซึ่งเป็นเสียงแปรของเสียงที่สอง
เสียงพยัญชนะต้นโดยรวมแบ่งเป็น 21 เสียง ตารางด้านล่างนี้บรรทัดบนคือสัทอักษรสากล บรรทัดล่างคืออักษรไทยในตำแหน่งพยัญชนะต้น (อักษรหลายตัวที่ปรากฏในช่องให้เสียงเดียวกัน) อักษรโรมันที่กำกับเป็นระบบถอดอักษรของราชบัณฑิตยสถาน
ริมฝีปากทั้งสองปุ่มเหงือกเพดานแข็งเพดานอ่อนเส้นเสียง
เสียงนาสิก[m]
m
[n]
ณ,น
n
[ŋ]
ng
เสียงกักก้อง[b]
b
[d]
ฎ,ด
d
ไม่ก้อง ไม่มีลม[p]
p
[t]
ฏ,ต
t
[tɕ]
ch
[k]
k
[ʔ]
ไม่ก้อง มีลม[pʰ]
ผ,พ,ภ
ph
[tʰ]
ฐ,ฑ,ฒ,ถ,ท,ธ
th
[tɕʰ]
ฉ,ช,ฌ
ch
[kʰ]
ข,ฃ,ค,ฅ,ฆ*kh
เสียงเสียดแทรก[f]
ฝ,ฟ
f
[s]
ซ,ศ,ษ,ส
s
[h]
ห,ฮ
h
เสียงเปิด[w]
w
[l]
ล,ฬ
l
[j]
ญ,ย
y
เสียงรัวลิ้น[r]
r
 และ  เลิกใช้แล้ว ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าภาษาไทยสมัยใหม่มีพยัญชนะเพียง 42 ตัวอักษร

พยัญชนะสะกด

ถึงแม้ว่าพยัญชนะไทยมี 44 รูป 21 เสียงในกรณีของพยัญชนะต้น แต่ในกรณีพยัญชนะสะกดแตกต่างออกไป สำหรับเสียงสะกดมีเพียง 8 เสียง และรวมทั้งไม่มีเสียงด้วย เรียกว่า มาตรา เสียงพยัญชนะก้องเมื่ออยู่ในตำแหน่งตัวสะกด ความก้องจะหายไป
ในบรรดาพยัญชนะไทย นอกจาก  และ  ที่เลิกใช้แล้ว ยังมีพยัญชนะอีก 6 ตัวที่ใช้เป็นตัวสะกดไม่ได้คือ       ดังนั้นตัวสะกดจึงเหลือเพียง 36 ตัวตามตารางอักษรโรมันที่กำกับเป็นระบบถอดอักษรของราชบัณฑิตยสถาน
 ริมฝีปาก
ทั้งสอง
ริมฝีปากล่าง
-ฟันบน
ปุ่มเหงือกเพดานแข็งเพดานอ่อนเส้นเสียง
เสียงนาสิก [m]
m
  [n]
ญ, ณ, น, ร, ล, ฬ
n
  [ŋ]
ง ng
 
เสียงกัก[p̚]
บ, ป, พ, ฟ, ภ
p
  [t̚]
จ, ช, ซ, ฌ, ฎ, ฏ, ฐ, ฑ, ฒ, ด, ต, ถ, ท, ธ, ศ, ษ, ส
t
  [k̚]
ก, ข, ค, ฆ k
 [ʔ]
* -
เสียงเปิด [w]
o (w)
  [j]
i (y)
 
* เสียงพยัญชนะกัก เส้นเสียง จะปรากฏเฉพาะหลังสระเสียงสั้นเมื่อไม่มีพยัญชนะสะกด

กลุ่มพยัญชนะ

แต่ละพยางค์ในคำหนึ่ง ๆ ของภาษาไทยแยกออกจากกันอย่างชัดเจน (ไม่เหมือนภาษาอังกฤษที่พยัญชนะสะกดอาจกลายเป็นพยัญชนะต้นในพยางค์ถัดไป หรือในทางกลับกัน) ดังนั้นพยัญชนะหลายตัวของพยางค์ที่อยู่ติดกันจะไม่รวมกันเป็นกลุ่มพยัญชนะเลย
ภาษาไทยมีกลุ่มพยัญชนะเพียงไม่กี่กลุ่ม ประมวลคำศัพท์ภาษาไทยดั้งเดิมระบุว่ามีกลุ่มพยัญชนะ (ที่ออกเสียงรวมกันโดยไม่มีสระอะ) เพียง 11 แบบเท่านั้น เรียกว่า พยัญชนะควบกล้ำ หรือ อักษรควบกล้ำ อักษรโรมันที่กำกับเป็นระบบถอดอักษรของราชบัณฑิตยสถาน
ริมฝีปากปุ่มเหงือกเพดานอ่อน
พยัญชนะเดี่ยว/p/
ป p
/pʰ/
ผ, พ ph
/t/
ต t
/k/
ก k
/kʰ/
ข, ฃ, ค, ฅ kh
เสียงรัว/r/
/pr/
ปร pr
/pʰr/
พร phr
/tr/
ตร tr
/kr/
กร kr
/kʰr/
ขร, ฃร, คร khr
เสียงเปิด/l/
/pl/
ปล pl
/pʰl/
ผล, พล phl
/kl/
กล kl
/kʰl/
ขล, คล khl
/w/
/kw/
กว kw/qu
/kʰw/
ขว, ฃว, คว, ฅว khw
พยัญชนะควบกล้ำมีจำนวนเพิ่มขึ้นอีกเล็กน้อยจากคำยืมภาษาต่างประเทศ อาทิ จันทรา จากภาษาสันสกฤต มีเสียง ทร /tʰr/ฟรี จากภาษาอังกฤษ มีเสียง ฟร /fr/ เป็นต้น เราสามารถสังเกตได้ว่า กลุ่มพยัญชนะเหล่านี้ถูกใช้เป็นพยัญชนะต้นเท่านั้น ซึ่งมีเสียงพยัญชนะตัวที่สองเป็น ร ล หรือ ว และกลุ่มพยัญชนะจะมีเสียงไม่เกินสองเสียงในคราวเดียว การผันวรรณยุกต์ของคำขึ้นอยู่กับไตรยางศ์ของพยัญชนะตัวแรก

สระเสียงสระในภาษาไทยแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ สระเดี่ยว สระประสม และสระเกิน สะกดด้วยรูปสระพื้นฐานหนึ่งตัวหรือหลายตัวร่วมกัน (ดูที่ อักษรไทย)

สระเดี่ยว หรือ สระแท้ คือสระที่เกิดจากฐานเพียงฐานเดียว มีทั้งสิ้น 18 เสียง อักษรโรมันที่กำกับเป็นระบบถอดอักษรของราชบัณฑิตยสถาน
 ลิ้นส่วนหน้าลิ้นส่วนหลัง
ปากเหยียดปากเหยียดปากห่อ
สั้นยาวสั้นยาวสั้นยาว
ลิ้นยกสูง/i/
–ิ i
/iː/
–ี i
/ɯ/
–ึ ue
/ɯː/
–ื ue
/u/
–ุ u
/uː/
–ู u
ลิ้นกึ่งสูง/e/
เ–ะ e
/eː/
เ– e
/ɤ/
เ–อะ oe
/ɤː/
เ–อ oe
/o/
โ–ะ o
/oː/
โ– o
ลิ้นกึ่งต่ำ/ɛ/
แ–ะ ae
/ɛː/
แ– ae
  /ɔ/
เ–าะ o
/ɔː/
–อ o
ลิ้นลดต่ำ  /a/
–ะ a
/aː/
–า a
  
สระเดี่ยว
สระเดี่ยว
สระประสม
สระประสม
สระประสม คือสระที่เกิดจากสระเดี่ยวสองเสียงมาประสมกัน เกิดการเลื่อนของลิ้นในระดับสูงลดลงสู่ระดับต่ำ ดังนั้นจึงสามารถเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "สระเลื่อน" มี 3 เสียงดังนี้
  • เ–ีย /iːa/ ประสมจากสระ อี และ อา ia
  • เ–ือ /ɯːa/ ประสมจากสระ อือ และ อา uea
  • –ัว /uːa/ ประสมจากสระ อู และ อา ua
ในบางตำราจะเพิ่มสระสระประสมเสียงสั้น คือ เ–ียะ เ–ือะ –ัวะ ด้วย แต่ในปัจจุบันสระเหล่านี้ปรากฏเฉพาะคำเลียนเสียงเท่านั้น เช่น เพียะ เปรี๊ยะ ผัวะ เป็นต้น
สระเสียงสั้นสระเสียงยาวสระเกิน
ไม่มีตัวสะกดมีตัวสะกดไม่มีตัวสะกดมีตัวสะกดไม่มีตัวสะกดมีตัวสะกด
–ะ–ั–1, -รร, -รร-–า–า––ำ(ไม่มี)
–ิ–ิ––ี–ี–ใ–(ไม่มี)
–ึ–ึ––ือ–ื–ไ–(ไม่มี)
–ุ–ุ––ู–ู–เ–า(ไม่มี)
เ–ะเ–็–, เ––2เ–เ––ฤ, –ฤฤ–, –ฤ–
แ–ะแ–็–, แ––2แ–แ––ฤๅ, –ฤๅ(ไม่มี)
โ–ะ––โ–โ––ฦ, –ฦฦ–, –ฦ–
เ–าะ–็อ–, -อ-2–อ–อ–, ––3ฦๅ, –ฦๅ(ไม่มี)
–ัวะ–็ว––ัว–ว–
เ–ียะ(ไม่มี)เ–ียเ–ีย–
เ–ือะ(ไม่มี)เ–ือเ–ือ–
เ–อะเ–ิ–4,
เ––4
เ–อเ–ิ–,
เ––5,
เ–อ–6
สระเกิน คือสระที่มีเสียงของพยัญชนะปนอยู่ มี 8 เสียงดังนี้
  • –ำ /am, aːm/ am ประสมจาก อะ + ม (อัม) เช่น ขำ บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาม) เช่น น้ำ
  • ใ– /aj, aːj/ ai ประสมจาก อะ + ย (อัย) เช่น ใจ บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาย) เช่น ใต้
  • ไ– /aj, aːj/ ai ประสมจาก อะ + ย (อัย) เช่น ไหม้ บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาย) เช่น ไม้
  • เ–า /aw, aːw/ ao ประสมจาก อะ + ว (เอา) เช่น เกา บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาว) เช่น เก้า
  • ฤ /rɯ/ rue, ri, roe ประสมจาก ร + อึ (รึ) เช่น ฤกษ์ บางครั้งเปลี่ยนเป็น /ri/ (ริ) เช่น กฤษณะ หรือ /rɤː/ (เรอ) เช่นฤกษ์
  • ฤๅ /rɯː/ rue ประสมจาก ร + อือ (รือ)
  • ฦ /lɯ/ lue ประสมจาก ล + อึ (ลึ)
  • ฦๅ /lɯː/ lue ประสมจาก ล + อือ (ลือ)
บางตำราก็ว่าสระเกินเป็นพยางค์ ไม่ถูกจัดว่าเป็นสระ
สระบางรูปเมื่อมีพยัญชนะสะกด จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระ สามารถสรุปได้ตามตารางด้านขวา
  1. คำที่สะกดด้วย –ั + ว นั้นไม่มี เพราะซ้ำกับ –ัว แต่เปลี่ยนไปใช้ เ–า แทน
  2. สระ เ-ะ แ-ะ เ-าะ ที่มีวรรณยุกต์ ใช้รูปเดียวกับสระ เ– แ- -อ ตามลำดับ เช่น เผ่น เล่น แล่น แว่น ผ่อน กร่อน
  3. คำที่สะกดด้วย –อ + ร จะลดรูปเป็น –ร ไม่มีตัวออ เช่น พร ศร จร ซึ่งก็จะไปซ้ำกับสระ โ–ะ ดังนั้นคำที่สะกดด้วย โ–ะ + ร จึงไม่มี
  4. สระ เ–อะ ที่มีตัวสะกดใช้รูปเดียวกับสระ เ–อ[4] เช่น เงิน เปิ่น เห่ย
  5. คำที่สะกดด้วย เ–อ + ย จะลดรูปเป็น เ–ย ไม่มีพินทุ์อิ เช่น เคย เนย เลย ซึ่งก็จะไปซ้ำกับสระ เ– อย่างไรก็ตาม คำที่สะกดด้วย เ– + ย จะไม่มีในภาษาไทย
  6. พบได้น้อยคำ เช่น เทอญ เทอม

วรรณยุกต์

เสียงวรรณยุกต์

คำเป็น
เสียงวรรณยุกต์ ในภาษาไทย (เสียงดนตรีหรือเสียงผัน) จำแนกออกได้เป็น 5 เสียง ได้แก่
เสียงวรรณยุกต์ตัวอย่าง
เสียงระดับเสียงอักษรไทยสัทอักษรสากล
หน่วยเสียงเสียง
สามัญกลางนา/nāː/[naː˧]
เอกกึ่งต่ำ-ต่ำ หรือ ต่ำอย่างเดียวหน่า/nàː/[naː˨˩] หรือ [naː˩]
โทสูง-ต่ำน่า/หน้า/nâː/[naː˥˩]
ตรีกึ่งสูง-สูง หรือ สูงอย่างเดียวน้า/náː/[naː˦˥] หรือ [naː˥]
จัตวาต่ำ-กึ่งสูงหนา/nǎː/[naː˩˩˦] หรือ [naː˩˦]
คำตาย
เสียงวรรณยุกต์ในคำตายสามารถมีได้แค่เพียง 3 เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงเอก เสียงโท และ เสียงตรี โดยขึ้นอยู่กับความสั้นความยาวของสระ เสียงเอกสามารถออกเสียงควบคู่กับได้สระสั้นหรือยาว เสียงตรีสามารถออกเสียงควบคู่กับสระสั้น และ เสียงโทสามารถออกเสียงควบคู่กับสระยาว อาทิ
เสียงสระตัวอย่าง
อักษรไทยหน่วยเสียงเสียง
เอกสั้นหมัก/màk/[mak̚˨˩]
ยาวหมาก/màːk/[maːk̚˨˩]
ตรีสั้นมัก/mák/[mak̚˦˥]
โทยาวมาก/mâːk/[maːk̚˥˩]
แต่อย่างใดก็ดี ในคำยืมบางคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาอังกฤษ คำตายสามารถมีเสียงตรีควบคู่กับสระยาว และเสียงโทควบคู่กับสระสั้นได้ด้วย อาทิ
เสียงสระตัวอย่าง
อักษรไทยหน่วยเสียงเสียงอังกฤษ
ตรียาวมาร์ก/máːk/[maːk̚˦˥]Marc, Mark
สตาร์ต/sa.táːt/[sa.taːt̚˦˥]start
บาส (เกตบอล)/báːt (.kêt.bɔ̄n) /[baːt̚˦˥ (.ket̚˥˩.bɔn˧)]basketball
โทสั้นเมคอัพ/méːk.ʔâp/[meːk̚˦˥.ʔap̚˥˩]make-up

รูปวรรณยุกต์

ส่วน รูปวรรณยุกต์ มี 4 รูป ได้แก่
รูปวรรณยุกต์ชื่อ
ไทยสัทอักษร
-่ไม้เอก/máːj.ʔèːk/
-้ไม้โท/máːj.tʰōː/
-๊ไม้ตรี/máːj.trīː/
-๋ไม้จัตวา/máːj.t͡ɕàt.ta.wāː/

การเขียนเสียงวรรณยุกต์

ทั้งนี้คำที่มีรูปวรรณยุกต์เดียวกัน ไม่จำเป็นต้องมีระดับเสียงวรรณยุกต์เดียวกัน ขึ้นอยู่กับระดับเสียงของอักษรนำด้วย เช่น ข้า (ไม้โท) ออกเสียงโทเหมือน ค่า (ไม้เอก) เป็นต้น
รูปวรรณยุกต์
ไม่เขียน-่-้-๊-๋
อักษรสูงเสียงจัตวาเสียงเอกเสียงโท--
ตัวอย่างขาข่าข้า--
กลางเสียงสามัญเสียงเอกเสียงโทเสียงตรีเสียงจัตวา
ตัวอย่างปาป่าป้าป๊าป๋า
ต่ำเสียงสามัญเสียงโทเสียงตรี--
ตัวอย่างคาค่าค้า--

ไวยากรณ์

ภาษาไทยเป็นภาษาคำโดด คำในภาษาไทยจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไม่ว่าจะอยู่ในกาล (tense) การก (case) มาลา (mood) หรือวาจก (voice) ใดก็ตาม คำในภาษาไทยไม่มีลิงก์ (gender) ไม่มีพจน์ (number) ไม่มีวิภัตติปัจจัย แม้คำที่รับมาจากภาษาผันคำ (ภาษาที่มีวิภัตติปัจจัย) เป็นต้นว่าภาษาบาลีสันสกฤต เมื่อนำมาใช้ในภาษาไทย ก็จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูป คำในภาษาไทยหลายคำไม่สามารถกำหนดหน้าที่ของคำตายตัวลงไปได้ ต้องอาศัยบริบทเข้าช่วยในการพิจารณา เมื่อต้องการจะผูกประโยค ก็นำเอาคำแต่ละคำมาเรียงติดต่อกันเข้า ภาษาไทยมีโครงสร้างแตกกิ่งไปทางขวา คำคุณศัพท์จะวางไว้หลังคำนาม ลักษณะทางวากยสัมพันธ์โดยรวมแล้วจะเป็นแบบ 'ประธาน-กริยา-กรรม'

วากยสัมพันธ์

ลักษณะทางวากยสัมพันธ์หรือการเรียงลำดับคำในประโยคโดยรวมแล้วจะเรียงเป็น 'ประธาน-กริยา-กรรม' (subject-verb-object หรือ SVO) อย่างใดก็ดี ในบางกรณีเช่นในกรณีที่มีการเน้นความหมายของกรรม (topicalization) สามารถเรียงประโยคเป็น กรรม-ประธาน-กริยา ได้ด้วย แต่ต้องใช้คำชี้เฉพาะเติมหลังคำกรรมคำนั้น อาทิ
กรณีลำดับคำตัวอย่าง
ธรรมดา
(unmarked)
ประธาน-กริยา-กรรมวัวกินหญ้าแล้ว
เน้นกรรม
(object topicalization)
กรรม-ประธาน-กริยาหญ้านี้ วัวกินแล้ว
หรือ
หญ้าเนียะ วัวกินแล้ว

สำเนียงย่อย

สำเนียงถิ่นในภาษาไทย สามารถแบ่งได้ดังนี้
กลุ่มภาษาถิ่นพื้นที่ที่ใช้เป็นภาษาหลัก
ภาษาไทยที่ราบภาคกลางสามารถจำแนกได้อีกเป็นภาคกลางตะวันออกคือ: จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดนครนายกจังหวัดนครสวรรค์จังหวัดลพบุรีจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดสมุทรสาครจังหวัดสระบุรีจังหวัดสระแก้วจังหวัดจันทบุรีจังหวัดปราจีนบุรี, พื้นที่ส่วนใหญ่ในจังหวัดตราด, พื้นที่เกือบทั้งหมดในจังหวัดฉะเชิงเทราจังหวัดนนทบุรีและจังหวัดปทุมธานี และกรุงเทพมหานคร (ฝั่งธนบุรีและฝั่งมีนบุรี)
สามารถจำแนกได้อีกเป็นภาคกลางตะวันตกคือ: จังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดอ่างทองจังหวัดชัยนาทจังหวัดนครปฐมจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดอุทัยธานี, พื้นที่ส่วนใหญ่ในจังหวัดกาญจนบุรีอำเภออุ้มผางจังหวัดระยอง และ อำเภอสัตหีบ
ภาษาไทยเมืองหลวงกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนครริมแม่น้ำเจ้าพระยา), จังหวัดนนทบุรี (บางส่วนของอำเภอเมืองและอำเภอปากเกร็ด), บางส่วนในอำเภอเมืองปทุมธานีอำเภอบางปะกงจังหวัดชลบุรี (ยกเว้นอำเภอสัตหีบ), อำเภอหาดใหญ่, บางส่วนในอำเภอบ้านดอน, บางส่วนในอำเภอนางรอง และตามชุมชนเมืองต่างๆ
ภาษาไทยสุโขทัยจังหวัดสุโขทัยจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดพิจิตรจังหวัดกำแพงเพชร และบางส่วนของจังหวัดอุตรดิตถ์
ภาษาไทยตะวันตกเฉียงใต้จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (ยกเว้นอำเภอทับสะแกอำเภอบางสะพานและอำเภอบางสะพานน้อย), จังหวัดเพชรบุรีจังหวัดราชบุรี
ภาษาไทยโคราช*จังหวัดนครราชสีมา (ยกเว้น อำเภอปักธงชัยอำเภอสูงเนิน และ อำเภอบัวใหญ่), บางส่วนของจังหวัดชัยภูมิ, บางส่วนของจังหวัดเพชรบูรณ์
  • หมายเหตุ บางครั้งภาษาไทยถิ่นนี้อาจถูกจำแนกเป็นอีกภาษา

การยืมคำจากภาษาอื่น

ภาษาไทยเป็นภาษาหนึ่งที่มีการยืมคำมาจากภาษาอื่น ๆ ค่อนข้างสูงมาก มีทั้งแบบยืมมาจากภาษาในตระกูลภาษาไท-กะได ด้วยกันเอง และข้ามตระกูลภาษา โดยส่วนมากจะยืมมาจากภาษาบาลีภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ซึ่งมีทั้งรักษาคำเดิม ออกเสียงใหม่ สะกดใหม่ หรือเปลี่ยนความหมายใหม่ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน
บางครั้งเป็นการยืมมาซ้อนคำ เกิดเป็นคำซ้อน คือ คำย่อยในคำหลัก มีความหมายเดียวกันทั้งสอง เช่น
  • ดั้งจมูก โดยมีคำว่าดั้ง เป็นคำในภาษาไท ส่วนจมูก เป็นคำในภาษาเขมร
  • อิทธิฤทธิ์ มาจาก อิทธิ (iddhi) ในภาษาบาลี ซ้อนกับคำว่า ฤทธิ (ṛddhi) ในภาษาสันสกฤต โดยทั้งสองคำมีความหมายเดียวกัน
คำจำนวนมากในภาษาไทย ไม่ใช้คำในกลุ่มภาษาไท แต่เป็นคำที่ยืมมาจากกลุ่มภาษาสันสกฤต-ปรากฤต โดยมีตัวอย่างดังนี้
รักษารูปเดิม หรือเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย
  • วชิระ (บาลี: วชิระ [vajira]), วัชระ (สันส: วัชร [vajra])
  • ศัพท์ (สันส: ศัพทะ [śabda]), สัท (เช่น สัทอักษร) (บาลี: สัททะ [sadda])
  • อัคนี และ อัคคี (สันส: อัคนิ [agni] บาลี: อัคคิ [aggi])
  • โลก (โลก) – บาลี-สันส: โลกะ [loka]
  • ญาติ (ยาด) – บาลี: ญาติ (ยา-ติ) [ñāti]
เสียง พ มักแผลงมาจาก ว
  • เพียร (มาจาก พิริยะ และมาจาก วิริยะ อีกทีหนึ่ง) (สันส:วีรยะ [vīrya], บาลี:วิริยะ [viriya])
  • พฤกษา (สันส:วฤกษะ [vṛkṣa])
  • พัสดุ (สันส: [vastu] (วัสตุ); บาลี: [vatthu] (วัตถุ) )
เสียง -อระ เปลี่ยนมาจาก -ะระ
  • หรดี (หอ-ระ-ดี) (บาลี:หรติ [harati] (หะระติ))
เสียง ด มักแผลงมาจาก ต
  • หรดี (หอ-ระ-ดี) (บาลี:หรติ [harati] (หะระติ))
  • เทวดา (บาลี:เทวะตา [devatā])
  • วัสดุ และ วัตถุ (สันส: [vastu] (วัสตุ); บาลี: [vatthu] (วัตถุ))
  • กบิลพัสดุ์ (กะ-บิน-ละ-พัด) (สันส: [kapilavastu] (กปิลวัสตุ); บาลี: [kapilavatthu] (กปิลวัตถุ))
เสียง บ มักแผลงมาจาก ป
  • กบิลพัสดุ์ (กะ-บิน-ละ-พัด) (สันส: [kapilavastu] (กปิลวัสตุ); บาลี: [kapilavatthu] (กปิลวัตถุ))
  • บุพเพ และ บูรพ (บาลี: [pubba] (ปุพพ))

ภาษาอังกฤษ

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีวิวัฒนาการต่าง ๆ ทางเทคโนโลยีมากมาย ซึ่งทำให้มีการใช้ภาษาอังกฤษกันอย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ก็ได้มีการบัญญัติศัพท์จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย เช่น[5]
  • ประปา จากคำว่า วอเตอสับไปล (water supply)
  • สถานี จากคำว่า สเตชัน (station)
  • รถยนต์ จากคำว่า รถมอเตอร์คาร์ (motorcar)
  • เรือยนต์ จากคำว่า เรือมอเตอร์ (motorboat)
  • ประมวล จากคำว่า โค้ด (code)[6](ที่มาhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2)